messager
check_circle สถานที่ท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว – วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง หมู่ที่ 7 ตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ --ชุมชนหนองบัวโดน อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ หมู่บ้าน OTOP นวัตวิถีรับนักท่องเที่ยวแบบวิถีถิ่นวิถีไทย สัมผัสชีวิตชุมชนแบบโฮมสเตย์ ที่วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง บ้านหนองบัวโดน ตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสมเด็จ พร้อมด้วยชาวชุมชนหนองบัวโดน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ได้ถ่ายทำวิดีโอเพื่อโปรโมทประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองบัวโดน ผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มสมุนไพร อาหารปลอดสารพิษ พืชผักสด แบบออแกนิก นวดผ่อนคลาย สินค้าชุมชนแปรรูป อาหารพื้นถิ่น ผ้าทอมือ
https://www.youtube.com/watch?v=DTe4s38r0XUรอปรับปรุง
แหล่งท่องเที่ยวรอปรับปรุง
แหล่งท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยว

– วัดป่าห้วยลาด หมู่ที่ 6 ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

(เครดิตภาพ: http://www.watpahuaylad.org/)

– วัดป่าม่วง หมู่ที่ 5  ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

ที่พัก
บรรยากาศดี ควรค่าการไปพัก ฯลฯ

ร้านอาหาร

ร้านอาหารประจำตำบล ร้านแนะนำ

-ร้านก๋วยเตี๋ยวไข่ตุ๋น ถนนทับกี่-บ้านนา (ตรงข้าม รพ.สต.ทับกี่)

สถานที่ท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยว – วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง หมู่ที่ 7 ตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ --ชุมชนหนองบัวโดน อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ หมู่บ้าน OTOP นวัตวิถีรับนักท่องเที่ยวแบบวิถีถิ่นวิถีไทย สัมผัสชีวิตชุมชนแบบโฮมสเตย์ ที่วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง บ้านหนองบัวโดน ตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสมเด็จ พร้อมด้วยชาวชุมชนหนองบัวโดน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ได้ถ่ายทำวิดีโอเพื่อโปรโมทประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองบัวโดน ผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มสมุนไพร อาหารปลอดสารพิษ พืชผักสด แบบออแกนิก นวดผ่อนคลาย สินค้าชุมชนแปรรูป อาหารพื้นถิ่น ผ้าทอมือ
https://www.youtube.com/watch?v=DTe4s38r0XU

รอปรับปรุง
แหล่งท่องเที่ยว

รอปรับปรุง
แหล่งท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยว

– วัดป่าห้วยลาด หมู่ที่ 6 ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

(เครดิตภาพ: http://www.watpahuaylad.org/)

– วัดป่าม่วง หมู่ที่ 5  ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

ที่พัก
บรรยากาศดี ควรค่าการไปพัก ฯลฯ

ร้านอาหาร

ร้านอาหารประจำตำบล ร้านแนะนำ

-ร้านก๋วยเตี๋ยวไข่ตุ๋น ถนนทับกี่-บ้านนา (ตรงข้าม รพ.สต.ทับกี่)

check_circle ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผลิตภัณฑ์ชุมชนโครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ผู้ประกอบการภายในประเทศมีอยู่หลายระดับ ทั้งที่เป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่ขนาดกลาง และขนาดย่อม ร่วมถึงผู้ผลิตในชุมชน ผู้ประกอบการบางรายสามารถผลิตสินค้าเพื่อส่งออกได้ แต่ยังมีผู้ประกอบการจำนวนมากที่เป็นผู้ประกอบการขนาดย่อมและผู้ผลิตในชุมชนที่ต้องการการพัฒนาและการส่งเสริมเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ กระทรวงตสาหกรรมจึงได้มอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจัดทำโครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นเพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้การสนับสนุนในด้านการกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่ยอมรับและสามารถประกันคุณภาพให้ กับผู้บริโภคตลอดจนเป็นแนวทางที่เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภคอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศต่อไป บทบาท สมอ. ตามโครงการ บทบาท สมอ. ตามโครงการ 1. พิจารณากำหนด แก้ไข และยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. ให้การรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยการออกใบรับรองและการติดตามผลภายหลังได้การรับรองแล้ว 3. ส่งเสริม พัฒนา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูลและเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ผลิตในชุมชน 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการการตามที่ได้รับมอบหมาย 5. ติดตาม ประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานให้กับคณะอนุกรรมการวิจัยพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ใน กอ.นตผ.แห่งชาติทราบทุกระยะ 6. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย วัตถุประสงค์ 1. เป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยสู่สากล 2. ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ให้มีคุณค่าและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 3. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรอง และแสดงเครื่องหมายรับรอง 4. ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายและสร้างความ มั่นใจให้กับผู้ผลิตระดับชุมชนในการทำผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตลอดจนผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน 5. มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาแบบยั่งยืน ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องตามนโยบายรัฐบาลในโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ชุมชน.

โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ผู้ประกอบการภายในประเทศมีอยู่หลายระดับ ทั้งที่เป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่ขนาดกลาง และขนาดย่อม ร่วมถึงผู้ผลิตในชุมชน ผู้ประกอบการบางรายสามารถผลิตสินค้าเพื่อส่งออกได้ แต่ยังมีผู้ประกอบการจำนวนมากที่เป็นผู้ประกอบการขนาดย่อมและผู้ผลิตในชุมชนที่ต้องการการพัฒนาและการส่งเสริมเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ กระทรวงตสาหกรรมจึงได้มอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจัดทำโครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นเพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ

โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้การสนับสนุนในด้านการกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่ยอมรับและสามารถประกันคุณภาพให้ กับผู้บริโภคตลอดจนเป็นแนวทางที่เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภคอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศต่อไป

บทบาท สมอ. ตามโครงการ

บทบาท สมอ. ตามโครงการ

1. พิจารณากำหนด แก้ไข และยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

2. ให้การรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยการออกใบรับรองและการติดตามผลภายหลังได้การรับรองแล้ว

3. ส่งเสริม พัฒนา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูลและเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ผลิตในชุมชน

4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการการตามที่ได้รับมอบหมาย

5. ติดตาม ประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานให้กับคณะอนุกรรมการวิจัยพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ใน กอ.นตผ.แห่งชาติทราบทุกระยะ

6. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

วัตถุประสงค์

1. เป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยสู่สากล

2. ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ให้มีคุณค่าและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน

3. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรอง และแสดงเครื่องหมายรับรอง

4. ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายและสร้างความ มั่นใจให้กับผู้ผลิตระดับชุมชนในการทำผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตลอดจนผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน

5. มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาแบบยั่งยืน ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องตามนโยบายรัฐบาลในโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน

โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ผู้ประกอบการภายในประเทศมีอยู่หลายระดับ ทั้งที่เป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่ขนาดกลาง และขนาดย่อม ร่วมถึงผู้ผลิตในชุมชน ผู้ประกอบการบางรายสามารถผลิตสินค้าเพื่อส่งออกได้ แต่ยังมีผู้ประกอบการจำนวนมากที่เป็นผู้ประกอบการขนาดย่อมและผู้ผลิตในชุมชนที่ต้องการการพัฒนาและการส่งเสริมเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ กระทรวงตสาหกรรมจึงได้มอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจัดทำโครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นเพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้การสนับสนุนในด้านการกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่ยอมรับและสามารถประกันคุณภาพให้ กับผู้บริโภคตลอดจนเป็นแนวทางที่เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภคอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศต่อไป บทบาท สมอ. ตามโครงการ บทบาท สมอ. ตามโครงการ 1. พิจารณากำหนด แก้ไข และยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. ให้การรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยการออกใบรับรองและการติดตามผลภายหลังได้การรับรองแล้ว 3. ส่งเสริม พัฒนา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูลและเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ผลิตในชุมชน 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการการตามที่ได้รับมอบหมาย 5. ติดตาม ประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานให้กับคณะอนุกรรมการวิจัยพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ใน กอ.นตผ.แห่งชาติทราบทุกระยะ 6. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย วัตถุประสงค์ 1. เป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยสู่สากล 2. ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ให้มีคุณค่าและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 3. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรอง และแสดงเครื่องหมายรับรอง 4. ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายและสร้างความ มั่นใจให้กับผู้ผลิตระดับชุมชนในการทำผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตลอดจนผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน 5. มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาแบบยั่งยืน ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องตามนโยบายรัฐบาลในโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ชุมชน.

โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ผู้ประกอบการภายในประเทศมีอยู่หลายระดับ ทั้งที่เป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่ขนาดกลาง และขนาดย่อม ร่วมถึงผู้ผลิตในชุมชน ผู้ประกอบการบางรายสามารถผลิตสินค้าเพื่อส่งออกได้ แต่ยังมีผู้ประกอบการจำนวนมากที่เป็นผู้ประกอบการขนาดย่อมและผู้ผลิตในชุมชนที่ต้องการการพัฒนาและการส่งเสริมเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ กระทรวงตสาหกรรมจึงได้มอบหมายให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจัดทำโครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นเพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ

โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้การสนับสนุนในด้านการกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่ยอมรับและสามารถประกันคุณภาพให้ กับผู้บริโภคตลอดจนเป็นแนวทางที่เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภคอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศต่อไป

บทบาท สมอ. ตามโครงการ

บทบาท สมอ. ตามโครงการ

1. พิจารณากำหนด แก้ไข และยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

2. ให้การรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยการออกใบรับรองและการติดตามผลภายหลังได้การรับรองแล้ว

3. ส่งเสริม พัฒนา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูลและเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ผลิตในชุมชน

4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการการตามที่ได้รับมอบหมาย

5. ติดตาม ประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานให้กับคณะอนุกรรมการวิจัยพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ใน กอ.นตผ.แห่งชาติทราบทุกระยะ

6. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

วัตถุประสงค์

1. เป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยสู่สากล

2. ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ให้มีคุณค่าและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน

3. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรอง และแสดงเครื่องหมายรับรอง

4. ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายและสร้างความ มั่นใจให้กับผู้ผลิตระดับชุมชนในการทำผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตลอดจนผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน

5. มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาแบบยั่งยืน ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องตามนโยบายรัฐบาลในโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

info_outline วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์รอปรับปรุง
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์

รอปรับปรุง
insert_drive_file ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไปประวัติความเป็นมา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้นำกลุ่มอพยพ พ่อเครื่อง ศรีการรัตน์ นำลูกบ้านอพยพมาจากบ้านนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จำนวน ๑๗ ครัวเรือนมาตั้งบ้านเรือนริมหนองน้ำมีบัวขึ้นมากมายและมีกระโดนใหญ่ต้นหนึ่งจึงตั้งชื่อบ้านว่า “ บ้านหนองบัวโดน ” และเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ มีราษฎรมาจากบ้านหนองป่าอ้อย และปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ราษฎรจากอำเภอแวง (อ.โพนทองในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นทางการ มีครัวเรือน ๓๐ ครัวเรือน พร้อมจัดตั้ง วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง ปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ตั้งโรงเรียนวัด โดยอาจารย์ ประสพ ศิริกุล เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน ๑๑๖ คน สภาพทั่วไป ๑ ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จเป็นเขตการปกครองของอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งอยู่ เขตรอบนอกของเทศบาลตำบลสมเด็จ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียงดังต่อไปนี้ ๑.๑.ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลผาเสวย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๒.ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลศรีสมเด็จ,หนองแวง อำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๓.ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำห้วยหลัวอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๔.ทิศใต้ ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงอำเภอสมเด็จ,องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒ พื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีพื้นที่โดยประมาณ ๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๖,๕๐๐ ไร่ ๓ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๒ หมู่บ้าน โดยมีหมู่ที่ ๒ อยู่พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จทั้งหมด หมู่ ๓, ๓, ๕, ๖ และ ๑๐ พื้นที่บางส่วนอยู่ ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ โดยพื้นที่ทั้งหมดมีสภาพเป็นที่ราบสูงนาดอน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี ๓ ฤดูกาล คือ ๓.๑ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศร้อนจัดมาก ๓.๒ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วงและ ไม่ตรงตามฤดูกาลเกษตรมักไม่ได้ทำการเกษตรตรงตามฤดูกาล ๓.๓ ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก แห้งแล้ง ๔.สภาพแวดล้อม ๔.๑.ด้านเศรษฐกิจการลงทุน พื้นที่มีการลงทุนทางอุตสาหกรรมทางการเกษตรจำนวนมาก ๔.๒.ด้านแรงงาน แรงงานมีไม่เพียงพอ อพยพแรงงานออกนอกพื้นที่ กลับมาเฉพาะฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีแต่เด็ก และคนชรา จำนวนหมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน ดังนี้ ๑ จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด ได้แก่หมู่ที่ ๑, ๗, ๘, ๙, ๑๑, ๑๒, ๒. จำนวนหมู่บ้านอยู่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด ได้แก่หมู่ที่ ๒ ๓. จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จบางส่วน ได้แก่หมู่ที่ ๓, ๓, ๕, ๖, ๑๐ ๔. รายชื่อหมู่บ้านและผู้นำหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี ๑๒ หมู่บ้าน แยกได้ดังต่อไปนี้ ๑. หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัวโดน นายทรงศักดิ์ ไชยรักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๕๗๕๔๒๘๐๘ ๒. หมู่ที่ ๓ บ้านสี่แยก น.ส. ดวงทิพย์ โพธิ์สาร เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๑๙๗๘๘๘๔๖ ๓. หมู่ที่ ๔ บ้านสี่แยก นายอุดม บุญชูหล้า เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๕๗๓๐๒๑๖๗ ๔. หมู่ที่ ๕ บ้านสี่แยก นายอนุชาติ บอนคำ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๘๑๖๙๗๒๕๓ ๕. หมู่ที่ ๖ บ้านสี่แยก นายสมพงษ์ อุ่นเจริญ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๓๕๗๒๑๑๕๙ ๖. หมู่ที่ ๗ บ้านหนองบัวโดน นายทองสา จิตรจักร เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๐๔๑๓๗๖๘๔ ๗. หมู่ที่ ๘ บ้านหนองกุง นางวิลาวัลย์ สาระขันธ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๙๕๗๓๒๗๓๓ ๘. หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสวรรค์ นายสมัย ศรีสมบูรณ์ เป็นกำนันตำบล เบอร์โทร. ๐๘๙๔๒๔๓๙๙๙ ๙.หมู่ที่ ๑๐ บ้านสี่แยก นายสมพงษ์เป็งสุข เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๗๒๒๙๙๓๑๒ ๑๐.หมู่ที่ ๑๑ บ้านหนองบัวโดน นายวินิจ เจริญราษฎร์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๑๑๘๓๘๐๙๐ ๑๑.หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองบัวโดน นายสำรวย ภูบุญทอง เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๗๙๕๒๑๗๙๙ ๑๒.หมู่ที่ ๑๓ บ้านหนองกุง นายทรง อาริสาโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๕๑๙๒๖๑๙๑ ๕.หมู่ที่๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๓ ป็นหมู่บ้านเร่งพัฒนาอันดับ ๑๔ท้องถิ่นอื่นในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ๕.๑ จำนวนเทศบาล ๑ แห่ง คือเทศบาลตำบลสมเด็จอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๑๐มากกว่า ๕๐ % ๕.๒ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น – แห่ง ๖ จำนวนประชากร ๖.๑ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีจำนวนประชากร ๒,๓๗๙ ครัวเรือน ๖.๒ จำนวนประชากรที่อยู่ในเขต อบต.สมเด็จ ทั้งหมด ๕,๙๔๒ คน แยกเป็น ชาย ๒,๙๗๔ คน หญิง ๒,๙๖๘ คน ๖.๓ มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน ๒๑๖.๗ คน/ตารางกิโลเมตร๙ โครงสร้างพื้นฐาน ๑.มีเอกสารสิทธิ์ในที่ทำกินของตนเองเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ในการหาเงินทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรและอื่น ๆ ๒.มีการคมนาคมสะดวกทั้งภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน ๓.มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง ๔.มีแหล่งน้ำกินน้ำใช้เพียงพอตลอดทั้งปี สภาพเศรษฐกิจ ๑ อาชีพ ๑.๑ อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา จำนวน ๙๐๐ ครัวเรือน ๑.๒ อาชีพรองได้แก่ ๑.๒.๑.ทำไร่ ส่วนใหญ่ได้แก่ มันสำปะหลัง จำนวน ๕๐ ครัวเรือน ๑.๒.๒. ทำสวนส่วนใหญ่ได้แก่ ไม้ยืนต้น-ไม้ผล จำนวน ๕๐ ครัวเรือน ๑.๒.๓.ปลูกเห็ดฟาง จำนวน ๙๐๐ ครัวเรือน ๑.๒.๔.พืชผัก จำนวน ๒๓ ครัวเรือน ๑.๒.๕.ไม้ดอก-ไม้ประดับ จำนวน ๕ ครัวเรือน ๑.๓ อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ - โค กระบือ จำนวน ๑๐๐ ครัวเรือน - สุกร จำนวน ๕๐ ครัวเรือน - เป็ด – ไก่ จำนวน ๓๐0 ครัวเรือน ๑.๔ อาชีพค้าขาย จำนวน ๒๐๐ ครัวเรือน - ส่วนมากมีรายได้เฉลี่ยครัวเรือนละ ๒๐,๐๐๐ บาท/ปี ๒ หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ๒.๑ ธนาคาร ๓ แห่ง (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ) ๒.๒ โรงแรม ๑ แห่ง (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ) ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่ ๘ แห่ง ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก ๒ แห่ง ๒.๕ โรงงานอุตสาหกรรม – แห่ง ๒.๖ โรงสี ๑๗ แห่ง ๒.๗ อุตสาหกรรมในครัวเรือน ๕ แห่ง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานรอปรับปรุง
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมา
เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้นำกลุ่มอพยพ พ่อเครื่อง ศรีการรัตน์ นำลูกบ้านอพยพมาจากบ้านนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จำนวน ๑๗ ครัวเรือนมาตั้งบ้านเรือนริมหนองน้ำมีบัวขึ้นมากมายและมีกระโดนใหญ่ต้นหนึ่งจึงตั้งชื่อบ้านว่า “ บ้านหนองบัวโดน ” และเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ มีราษฎรมาจากบ้านหนองป่าอ้อย และปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ราษฎรจากอำเภอแวง (อ.โพนทองในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นทางการ มีครัวเรือน ๓๐ ครัวเรือน พร้อมจัดตั้ง วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง ปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ตั้งโรงเรียนวัด โดยอาจารย์ ประสพ ศิริกุล เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน ๑๑๖ คน
 
สภาพทั่วไป
๑   ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จเป็นเขตการปกครองของอำเภอสมเด็จ  จังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งอยู่
เขตรอบนอกของเทศบาลตำบลสมเด็จ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียงดังต่อไปนี้
๑.๑.ทิศเหนือ  ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลผาเสวย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๒.ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลศรีสมเด็จ,หนองแวง อำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๓.ทิศตะวันออก  ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำห้วยหลัวอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๔.ทิศใต้  ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงอำเภอสมเด็จ,องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
 
๒   พื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีพื้นที่โดยประมาณ ๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๖,๕๐๐ ไร่
๓  สภาพภูมิประเทศ
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น  ๑๒   หมู่บ้าน  โดยมีหมู่ที่  ๒  อยู่พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จทั้งหมด หมู่ ๓, ๓, ๕, ๖ และ ๑๐ พื้นที่บางส่วนอยู่ ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ โดยพื้นที่ทั้งหมดมีสภาพเป็นที่ราบสูงนาดอน   องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี   ๓  ฤดูกาล  คือ
๓.๑   ฤดูร้อน   เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศร้อนจัดมาก
๓.๒   ฤดูฝน  เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วงและ
ไม่ตรงตามฤดูกาลเกษตรมักไม่ได้ทำการเกษตรตรงตามฤดูกาล
๓.๓   ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก แห้งแล้ง
 
4.สภาพแวดล้อม
๔.๑.ด้านเศรษฐกิจการลงทุน พื้นที่มีการลงทุนทางอุตสาหกรรมทางการเกษตรจำนวนมาก
๔.๒.ด้านแรงงาน แรงงานมีไม่เพียงพอ อพยพแรงงานออกนอกพื้นที่ กลับมาเฉพาะฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีแต่เด็ก และคนชรา 
 จำนวนหมู่บ้าน  ๑๒  หมู่บ้าน  ดังนี้
๑ จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด   ได้แก่หมู่ที่   ๑, ๗, ๘, ๙, ๑๑, ๑๒,
๒. จำนวนหมู่บ้านอยู่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด   ได้แก่หมู่ที่    ๒
๓. จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จบางส่วน   ได้แก่หมู่ที่  ๓, ๓, ๕, ๖, ๑๐
๔. รายชื่อหมู่บ้านและผู้นำหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี  ๑๒  หมู่บ้าน แยกได้ดังต่อไปนี้
๑. หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัวโดน  นายประวุฒิ   รัตน์อนันต์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๗๔๒๘๐๖๑๖
๒. หมู่ที่ ๓ บ้านสี่แยก  นายทองสุข  มาตผุด เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๔๕๑๖๘๑๗๓
๓. หมู่ที่ ๔ บ้านสี่แยก  นายทองจันทร์  เหล่าลุมพุก   เป็นกำนันตำบล  เบอร์โทร. ๐๘๖๖๔๖๔๒๗๒
๓. หมู่ที่ ๕ บ้านสี่แยก  นายอนุชาติ   บอนคำ เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๙๘๔๓๘๘๙๓
๕. หมู่ที่ ๖ บ้านสี่แยก  นายสมพงษ์  อุ่นเจริญ  เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร.  ๐๘๗๙๕๐๓๒๓๙
๖. หมู่ที่ ๗ บ้านหนองบัวโดน  นายทองสา  จิตรจักร  เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร.  ๐๘๓๖๖๓๙๕๕๓
๗. หมู่ที่ ๘ บ้านหนองกุง  นายบุญมา   บุญสงคราม  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๐๑๙๐๖๖๔๗
๘. หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสวรรค์  นายสมัย  ศรีสมบูรณ์  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๙๗๑๒๔๐๙๓
๙.หมู่ที่๑๐ บ้านสี่แยก  นายสมพงษ์เป็งสุข  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๗๒๒๙๙๓๑๒
๑๐.หมู่ที่ ๑๑ บ้านหนองบัวโดน  นายวินิจ   เจริญราษฎร์   เป็นผู้ใหญ่บ้าน   เบอร์โทร.  ๐๘๑๑๘๓๘๐๙๐
๑๑.หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองบัวโดน   นายสำรวย   ภูบุญทอง   เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๗๖๓๙๖๓๕๗
๑๒.หมู่ที่ ๑๓ บ้านหนองกุง   นายทรง  อาริสาโพธิ์   เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๙๐๓๕๖๕๖๒๒
๕.หมู่ที่๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๓ ป็นหมู่บ้านเร่งพัฒนาอันดับ ๑๔ท้องถิ่นอื่นในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ
๕.๑ จำนวนเทศบาล ๑ แห่ง คือเทศบาลตำบลสมเด็จอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๑๐มากกว่า   ๕๐ %
๕.๒   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น            –              แห่ง
๖  จำนวนประชากร
๖.๑  องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีจำนวนประชากร  ๑,๖๑๑  ครัวเรือน
๖.๒  จำนวนประชากรที่อยู่ในเขต   อบต.สมเด็จ        ทั้งหมด  ๕,๖๑๐  คน    แยกเป็น            ชาย   ๒,๘๐๔    คน     หญิง       ๒,๘๐๖    คน
๖.๓   มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน   ๒๑๖.๗     คน/ตารางกิโลเมตร๙
 
โครงสร้างพื้นฐาน
 ๑.มีเอกสารสิทธิ์ในที่ทำกินของตนเองเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ในการหาเงินทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรและอื่น     ๆ
 ๒.มีการคมนาคมสะดวกทั้งภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
 ๓.มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง
 ๔.มีแหล่งน้ำกินน้ำใช้เพียงพอตลอดทั้งปี
 
สภาพเศรษฐกิจ
๑ อาชีพ
๑.๑ อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา  จำนวน  ๙๐๐ ครัวเรือน
๑.๒ อาชีพรองได้แก่
๑.๒.๑.ทำไร่ ส่วนใหญ่ได้แก่ มันสำปะหลัง จำนวน ๕๐ ครัวเรือน
๑.๒.๒. ทำสวนส่วนใหญ่ได้แก่   ไม้ยืนต้น-ไม้ผล  จำนวน  ๕๐  ครัวเรือน
๑.๒.๓.ปลูกเห็ดฟาง   จำนวน   ๙๐๐  ครัวเรือน
๑.๒.๔.พืชผัก  จำนวน   ๒๓  ครัวเรือน
๑.๒.๕.ไม้ดอก-ไม้ประดับ จำนวน  ๕  ครัวเรือน
๑.๓   อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่    
       - โค   กระบือ จำนวน  ๑๐๐  ครัวเรือน
       - สุกร          จำนวน   ๕๐   ครัวเรือน
       - เป็ด – ไก่    จำนวน  ๓๐0  ครัวเรือน                                                                          
๑.๔   อาชีพค้าขาย  จำนวน  ๒๐๐ ครัวเรือน
       - ส่วนมากมีรายได้เฉลี่ยครัวเรือนละ   ๒๐,๐๐๐   บาท/ปี
๒   หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ
            ๒.๑ ธนาคาร      ๓   แห่ง   (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ)
            ๒.๒ โรงแรม       ๑   แห่ง   (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ)
                     ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่                  ๘   แห่ง
                     ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก                   ๒   แห่ง
                     ๒.๕ โรงงานอุตสาหกรรม                  –   แห่ง
                     ๒.๖ โรงสี                                  ๑๗  แห่ง
            ๒.๗ อุตสาหกรรมในครัวเรือน                      ๕   แห่ง
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป

ประวัติความเป็นมา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้นำกลุ่มอพยพ พ่อเครื่อง ศรีการรัตน์ นำลูกบ้านอพยพมาจากบ้านนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จำนวน ๑๗ ครัวเรือนมาตั้งบ้านเรือนริมหนองน้ำมีบัวขึ้นมากมายและมีกระโดนใหญ่ต้นหนึ่งจึงตั้งชื่อบ้านว่า “ บ้านหนองบัวโดน ” และเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ มีราษฎรมาจากบ้านหนองป่าอ้อย และปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ราษฎรจากอำเภอแวง (อ.โพนทองในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นทางการ มีครัวเรือน ๓๐ ครัวเรือน พร้อมจัดตั้ง วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง ปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ตั้งโรงเรียนวัด โดยอาจารย์ ประสพ ศิริกุล เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน ๑๑๖ คน สภาพทั่วไป ๑ ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จเป็นเขตการปกครองของอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งอยู่ เขตรอบนอกของเทศบาลตำบลสมเด็จ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียงดังต่อไปนี้ ๑.๑.ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลผาเสวย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๒.ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลศรีสมเด็จ,หนองแวง อำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๓.ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำห้วยหลัวอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑.๔.ทิศใต้ ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงอำเภอสมเด็จ,องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒ พื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีพื้นที่โดยประมาณ ๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๖,๕๐๐ ไร่ ๓ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๒ หมู่บ้าน โดยมีหมู่ที่ ๒ อยู่พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จทั้งหมด หมู่ ๓, ๓, ๕, ๖ และ ๑๐ พื้นที่บางส่วนอยู่ ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ โดยพื้นที่ทั้งหมดมีสภาพเป็นที่ราบสูงนาดอน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี ๓ ฤดูกาล คือ ๓.๑ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศร้อนจัดมาก ๓.๒ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วงและ ไม่ตรงตามฤดูกาลเกษตรมักไม่ได้ทำการเกษตรตรงตามฤดูกาล ๓.๓ ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก แห้งแล้ง ๔.สภาพแวดล้อม ๔.๑.ด้านเศรษฐกิจการลงทุน พื้นที่มีการลงทุนทางอุตสาหกรรมทางการเกษตรจำนวนมาก ๔.๒.ด้านแรงงาน แรงงานมีไม่เพียงพอ อพยพแรงงานออกนอกพื้นที่ กลับมาเฉพาะฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีแต่เด็ก และคนชรา จำนวนหมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน ดังนี้ ๑ จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด ได้แก่หมู่ที่ ๑, ๗, ๘, ๙, ๑๑, ๑๒, ๒. จำนวนหมู่บ้านอยู่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด ได้แก่หมู่ที่ ๒ ๓. จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จบางส่วน ได้แก่หมู่ที่ ๓, ๓, ๕, ๖, ๑๐ ๔. รายชื่อหมู่บ้านและผู้นำหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี ๑๒ หมู่บ้าน แยกได้ดังต่อไปนี้ ๑. หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัวโดน นายทรงศักดิ์ ไชยรักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๕๗๕๔๒๘๐๘ ๒. หมู่ที่ ๓ บ้านสี่แยก น.ส. ดวงทิพย์ โพธิ์สาร เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๑๙๗๘๘๘๔๖ ๓. หมู่ที่ ๔ บ้านสี่แยก นายอุดม บุญชูหล้า เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๕๗๓๐๒๑๖๗ ๔. หมู่ที่ ๕ บ้านสี่แยก นายอนุชาติ บอนคำ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๘๑๖๙๗๒๕๓ ๕. หมู่ที่ ๖ บ้านสี่แยก นายสมพงษ์ อุ่นเจริญ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๓๕๗๒๑๑๕๙ ๖. หมู่ที่ ๗ บ้านหนองบัวโดน นายทองสา จิตรจักร เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๐๔๑๓๗๖๘๔ ๗. หมู่ที่ ๘ บ้านหนองกุง นางวิลาวัลย์ สาระขันธ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๙๕๗๓๒๗๓๓ ๘. หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสวรรค์ นายสมัย ศรีสมบูรณ์ เป็นกำนันตำบล เบอร์โทร. ๐๘๙๔๒๔๓๙๙๙ ๙.หมู่ที่ ๑๐ บ้านสี่แยก นายสมพงษ์เป็งสุข เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๗๒๒๙๙๓๑๒ ๑๐.หมู่ที่ ๑๑ บ้านหนองบัวโดน นายวินิจ เจริญราษฎร์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๑๑๘๓๘๐๙๐ ๑๑.หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองบัวโดน นายสำรวย ภูบุญทอง เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๘๗๙๕๒๑๗๙๙ ๑๒.หมู่ที่ ๑๓ บ้านหนองกุง นายทรง อาริสาโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร. ๐๙๕๑๙๒๖๑๙๑ ๕.หมู่ที่๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๓ ป็นหมู่บ้านเร่งพัฒนาอันดับ ๑๔ท้องถิ่นอื่นในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ๕.๑ จำนวนเทศบาล ๑ แห่ง คือเทศบาลตำบลสมเด็จอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๑๐มากกว่า ๕๐ % ๕.๒ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น – แห่ง ๖ จำนวนประชากร ๖.๑ องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีจำนวนประชากร ๒,๓๗๙ ครัวเรือน ๖.๒ จำนวนประชากรที่อยู่ในเขต อบต.สมเด็จ ทั้งหมด ๕,๙๔๒ คน แยกเป็น ชาย ๒,๙๗๔ คน หญิง ๒,๙๖๘ คน ๖.๓ มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน ๒๑๖.๗ คน/ตารางกิโลเมตร๙ โครงสร้างพื้นฐาน ๑.มีเอกสารสิทธิ์ในที่ทำกินของตนเองเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ในการหาเงินทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรและอื่น ๆ ๒.มีการคมนาคมสะดวกทั้งภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน ๓.มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง ๔.มีแหล่งน้ำกินน้ำใช้เพียงพอตลอดทั้งปี สภาพเศรษฐกิจ ๑ อาชีพ ๑.๑ อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา จำนวน ๙๐๐ ครัวเรือน ๑.๒ อาชีพรองได้แก่ ๑.๒.๑.ทำไร่ ส่วนใหญ่ได้แก่ มันสำปะหลัง จำนวน ๕๐ ครัวเรือน ๑.๒.๒. ทำสวนส่วนใหญ่ได้แก่ ไม้ยืนต้น-ไม้ผล จำนวน ๕๐ ครัวเรือน ๑.๒.๓.ปลูกเห็ดฟาง จำนวน ๙๐๐ ครัวเรือน ๑.๒.๔.พืชผัก จำนวน ๒๓ ครัวเรือน ๑.๒.๕.ไม้ดอก-ไม้ประดับ จำนวน ๕ ครัวเรือน ๑.๓ อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ - โค กระบือ จำนวน ๑๐๐ ครัวเรือน - สุกร จำนวน ๕๐ ครัวเรือน - เป็ด – ไก่ จำนวน ๓๐0 ครัวเรือน ๑.๔ อาชีพค้าขาย จำนวน ๒๐๐ ครัวเรือน - ส่วนมากมีรายได้เฉลี่ยครัวเรือนละ ๒๐,๐๐๐ บาท/ปี ๒ หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ ๒.๑ ธนาคาร ๓ แห่ง (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ) ๒.๒ โรงแรม ๑ แห่ง (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ) ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่ ๘ แห่ง ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก ๒ แห่ง ๒.๕ โรงงานอุตสาหกรรม – แห่ง ๒.๖ โรงสี ๑๗ แห่ง ๒.๗ อุตสาหกรรมในครัวเรือน ๕ แห่ง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

รอปรับปรุง
ข้อมูลทั่วไป

ประวัติความเป็นมา
เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้นำกลุ่มอพยพ พ่อเครื่อง ศรีการรัตน์ นำลูกบ้านอพยพมาจากบ้านนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จำนวน ๑๗ ครัวเรือนมาตั้งบ้านเรือนริมหนองน้ำมีบัวขึ้นมากมายและมีกระโดนใหญ่ต้นหนึ่งจึงตั้งชื่อบ้านว่า “ บ้านหนองบัวโดน ” และเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ มีราษฎรมาจากบ้านหนองป่าอ้อย และปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ราษฎรจากอำเภอแวง (อ.โพนทองในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นทางการ มีครัวเรือน ๓๐ ครัวเรือน พร้อมจัดตั้ง วัดแสงสว่างโพธิ์ทอง ปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ตั้งโรงเรียนวัด โดยอาจารย์ ประสพ ศิริกุล เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน ๑๑๖ คน
 
สภาพทั่วไป
๑   ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จเป็นเขตการปกครองของอำเภอสมเด็จ  จังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งอยู่
เขตรอบนอกของเทศบาลตำบลสมเด็จ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียงดังต่อไปนี้
๑.๑.ทิศเหนือ  ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลผาเสวย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๒.ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลศรีสมเด็จ,หนองแวง อำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๓.ทิศตะวันออก  ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำห้วยหลัวอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
๑.๔.ทิศใต้  ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงอำเภอสมเด็จ,องค์การบริหารส่วนตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
 
๒   พื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีพื้นที่โดยประมาณ ๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๖,๕๐๐ ไร่
๓  สภาพภูมิประเทศ
องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น  ๑๒   หมู่บ้าน  โดยมีหมู่ที่  ๒  อยู่พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จทั้งหมด หมู่ ๓, ๓, ๕, ๖ และ ๑๐ พื้นที่บางส่วนอยู่ ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ โดยพื้นที่ทั้งหมดมีสภาพเป็นที่ราบสูงนาดอน   องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี   ๓  ฤดูกาล  คือ
๓.๑   ฤดูร้อน   เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศร้อนจัดมาก
๓.๒   ฤดูฝน  เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วงและ
ไม่ตรงตามฤดูกาลเกษตรมักไม่ได้ทำการเกษตรตรงตามฤดูกาล
๓.๓   ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก แห้งแล้ง
 
4.สภาพแวดล้อม
๔.๑.ด้านเศรษฐกิจการลงทุน พื้นที่มีการลงทุนทางอุตสาหกรรมทางการเกษตรจำนวนมาก
๔.๒.ด้านแรงงาน แรงงานมีไม่เพียงพอ อพยพแรงงานออกนอกพื้นที่ กลับมาเฉพาะฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีแต่เด็ก และคนชรา 
 จำนวนหมู่บ้าน  ๑๒  หมู่บ้าน  ดังนี้
๑ จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด   ได้แก่หมู่ที่   ๑, ๗, ๘, ๙, ๑๑, ๑๒,
๒. จำนวนหมู่บ้านอยู่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จทั้งหมด   ได้แก่หมู่ที่    ๒
๓. จำนวนหมู่บ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จบางส่วน   ได้แก่หมู่ที่  ๓, ๓, ๕, ๖, ๑๐
๔. รายชื่อหมู่บ้านและผู้นำหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จมี  ๑๒  หมู่บ้าน แยกได้ดังต่อไปนี้
๑. หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัวโดน  นายประวุฒิ   รัตน์อนันต์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๗๔๒๘๐๖๑๖
๒. หมู่ที่ ๓ บ้านสี่แยก  นายทองสุข  มาตผุด เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๔๕๑๖๘๑๗๓
๓. หมู่ที่ ๔ บ้านสี่แยก  นายทองจันทร์  เหล่าลุมพุก   เป็นกำนันตำบล  เบอร์โทร. ๐๘๖๖๔๖๔๒๗๒
๓. หมู่ที่ ๕ บ้านสี่แยก  นายอนุชาติ   บอนคำ เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๙๘๔๓๘๘๙๓
๕. หมู่ที่ ๖ บ้านสี่แยก  นายสมพงษ์  อุ่นเจริญ  เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร.  ๐๘๗๙๕๐๓๒๓๙
๖. หมู่ที่ ๗ บ้านหนองบัวโดน  นายทองสา  จิตรจักร  เป็นผู้ใหญ่บ้าน เบอร์โทร.  ๐๘๓๖๖๓๙๕๕๓
๗. หมู่ที่ ๘ บ้านหนองกุง  นายบุญมา   บุญสงคราม  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๐๑๙๐๖๖๔๗
๘. หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสวรรค์  นายสมัย  ศรีสมบูรณ์  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๙๗๑๒๔๐๙๓
๙.หมู่ที่๑๐ บ้านสี่แยก  นายสมพงษ์เป็งสุข  เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร. ๐๘๗๒๒๙๙๓๑๒
๑๐.หมู่ที่ ๑๑ บ้านหนองบัวโดน  นายวินิจ   เจริญราษฎร์   เป็นผู้ใหญ่บ้าน   เบอร์โทร.  ๐๘๑๑๘๓๘๐๙๐
๑๑.หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองบัวโดน   นายสำรวย   ภูบุญทอง   เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๘๗๖๓๙๖๓๕๗
๑๒.หมู่ที่ ๑๓ บ้านหนองกุง   นายทรง  อาริสาโพธิ์   เป็นผู้ใหญ่บ้าน  เบอร์โทร.  ๐๙๐๓๕๖๕๖๒๒
๕.หมู่ที่๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๓ ป็นหมู่บ้านเร่งพัฒนาอันดับ ๑๔ท้องถิ่นอื่นในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ
๕.๑ จำนวนเทศบาล ๑ แห่ง คือเทศบาลตำบลสมเด็จอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๑๐มากกว่า   ๕๐ %
๕.๒   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น            –              แห่ง
๖  จำนวนประชากร
๖.๑  องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ มีจำนวนประชากร  ๑,๖๑๑  ครัวเรือน
๖.๒  จำนวนประชากรที่อยู่ในเขต   อบต.สมเด็จ        ทั้งหมด  ๕,๖๑๐  คน    แยกเป็น            ชาย   ๒,๘๐๔    คน     หญิง       ๒,๘๐๖    คน
๖.๓   มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน   ๒๑๖.๗     คน/ตารางกิโลเมตร๙
 
โครงสร้างพื้นฐาน
 ๑.มีเอกสารสิทธิ์ในที่ทำกินของตนเองเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ในการหาเงินทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรและอื่น     ๆ
 ๒.มีการคมนาคมสะดวกทั้งภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
 ๓.มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง
 ๔.มีแหล่งน้ำกินน้ำใช้เพียงพอตลอดทั้งปี
 
สภาพเศรษฐกิจ
๑ อาชีพ
๑.๑ อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา  จำนวน  ๙๐๐ ครัวเรือน
๑.๒ อาชีพรองได้แก่
๑.๒.๑.ทำไร่ ส่วนใหญ่ได้แก่ มันสำปะหลัง จำนวน ๕๐ ครัวเรือน
๑.๒.๒. ทำสวนส่วนใหญ่ได้แก่   ไม้ยืนต้น-ไม้ผล  จำนวน  ๕๐  ครัวเรือน
๑.๒.๓.ปลูกเห็ดฟาง   จำนวน   ๙๐๐  ครัวเรือน
๑.๒.๔.พืชผัก  จำนวน   ๒๓  ครัวเรือน
๑.๒.๕.ไม้ดอก-ไม้ประดับ จำนวน  ๕  ครัวเรือน
๑.๓   อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่    
       - โค   กระบือ จำนวน  ๑๐๐  ครัวเรือน
       - สุกร          จำนวน   ๕๐   ครัวเรือน
       - เป็ด – ไก่    จำนวน  ๓๐0  ครัวเรือน                                                                          
๑.๔   อาชีพค้าขาย  จำนวน  ๒๐๐ ครัวเรือน
       - ส่วนมากมีรายได้เฉลี่ยครัวเรือนละ   ๒๐,๐๐๐   บาท/ปี
๒   หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ
            ๒.๑ ธนาคาร      ๓   แห่ง   (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ)
            ๒.๒ โรงแรม       ๑   แห่ง   (อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสมเด็จ)
                     ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่                  ๘   แห่ง
                     ๒.๓ ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก                   ๒   แห่ง
                     ๒.๕ โรงงานอุตสาหกรรม                  –   แห่ง
                     ๒.๖ โรงสี                                  ๑๗  แห่ง
            ๒.๗ อุตสาหกรรมในครัวเรือน                      ๕   แห่ง